โรคพิษสุนัขบ้าสามารถเกิดในแมวได้ด้วย

โรคพิษสุนัขบ้าสามารถเกิดในแมวได้ด้วย แน่นอนว่าตอนนี้เองก็กำลังเข้าสู่หน้าร้อนหลาย ๆ คนเอง ก็จะนึกถึงโรคอันตรายที่เกิดขึ้นในสัตว์เลี้ยงยาพิษสุนัขบ้า หรือโรคกลัวน้ำนั้นเอง ว่ามันเป็นชื่อที่ใครหลายคน ก็มองว่ามันอาจจะเกิดขึ้นแก่แต่แค่กับสุนัข
แต่บอกได้เลยว่าเจ้าของน้องแมวเอง ก็อย่าเพิ่งวางใจไปเพราะว่า สามารถที่จะติดต่อมันส่งน้องแมวได้ด้วยเช่นเดียวกัน เรียกว่าอันนี้เองก็ถือเป็นเรื่องอันตราย และที่สำคัญเลยก็คือสามารถติดต่อมาสู่คนได้อีกด้วย และยังสามารถติดต่อไปถึงสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดอื่น ๆ ด้วยเช่นเดียวกัน
ต้องบอกเลยว่าไม่ว่าจะเป็นใครก็ตาม รวมไปถึงน้องแมวที่ติดโรคนี้ไวรัส ก่อให้เกิดอันตรายจนถึงแก่ชีวิตได้เลยทีเดียว ซึ่งเรานั้นก็จะมาอธิบายถึงโรคพิษสุนัขบ้า เพื่อให้คุณได้ทำความเข้าใจมากยิ่งขึ้น
โดยต้องบอกเลยว่าสำหรับเชื้อไวรัสโรคพิษสุนัขบ้านี่เอง ให้ได้ว่าสามารถที่จะติดต่อกันผ่านทางน้ำลายสัตว์ป่วยนั่นเอง ไม่ว่าจะเป็นการจัดการควร หรือรวมไปถึงการเลียบริเวณปากแผล เพื่อที่จะทำให้เชื้อไวรัสน้ำลายเข้าสู่บาดแผล เรียกว่าติดต่อกันในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม

ดังนั้นแล้วไม่ว่าจะเป็นคนสุนัข หรือแมวก็สามารถที่จะเกิดโรคพิษสุนัขบ้าได้ด้วยเช่นเดียวกัน และก็ยังมีการติดเชื้อในสัตว์อื่น ๆ ด้วย
ซึ่งสำหรับอันตรายถ้าหากติดเชื้อไวรัสโรคพิษสุนัขบ้าในแมว แล้วเชื้อไวรัสเองจะเข้าทำลายระบบประสาท โดยเมื่อแมวที่ป่วยของเราด้วยโรคพิษสุนัขบ้าเอง ก็จะมีการทำการแสดงออกมา แล้วก็มักจะทำให้สัตว์ป่วยนั้นถึงแก่ชีวิตได้ภายใน 10 วัน ซึ่งอาการของโรคก็แบ่งได้เป็น 3 ระยะระยะเริ่มต้นก็จะดูเหมือนอาการทั่ว ๆ ไป อาจจะเป็นอาการซึมมีไข้
โดยจะมีการให้กินยา หรือรับประทานยาระยะเวลาประมาณ 2-3 วัน จากนั้นจะเข้าสู่ระยะตื่นเต้นมีอาการกระวนกระวายหงุดหงิดนั่นเอง และจะเข้าสู่ระยะอัมพาต โดยในส่วนนี้ก็จะเป็นโรคพิษสุนัขบ้า ที่ทำให้มีการทรงตัวผิดปกติกลืนลำบากนั่นเอง ซึ่งในส่วนนี้ก็จะเห็นได้ว่ามีอาการคล้าย ๆ กับกลัวน้ำในระยะนี้

หลาย ๆ คนเองเมื่ออ่านมาถึงตรงนี้เลย หลายคนก็อาจจะเป็นกังวล แต่ต้องบอกเลยว่าการที่มีโรคร้ายนี้ เราก็สามารถป้องกันด้วยการฉีดวัคซีนได้ โดยเรานั้นต้องเริ่มทำวัคซีนเข็มแรกที่อายุประมาณ 3 เดือนเข็มที่ 2 เมื่ออายุ 6 เดือนและทำการกระตุ้นวัคซีนประจำปีทุก ๆ ปีด้วยเช่นเดียวกัน
หากสงสัยว่าน้องแมวของเรานั้น ป่วยด้วยโรคพิษสุนัขบ้า ควรรีบพาไปพบสัตวแพทย์โดยทันทีนั่นเอง และแจ้งข้อมูลสุขภาพต่างๆของน้องแมว ไม่ว่าจะเป็นในส่วนของประวัติการดูแลสุขภาพประวัติ การทำวัคซีนรวมไปถึงการเลี้ยงต่าง ๆ ให้ครบถ้วนเพื่อที่จะให้แพทย์นั้น สามารถที่จะวินิจฉัยได้อย่างตรงจุดมากที่สุด